หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554

Motion Capture

Motion Capture
รายงานสรุปข่าววิชา :  ARTI3319 Visual Communication Design
ข่าวทางเลือกเรื่อง :

The Art of Motion Capture in Animation Design
ที่มาข่าวสารจากคอลัมน์:

http://jordandiamond5.wordpress.com/motion-capture
เนื้อหาข่าวสารต้นฉบับที่คัดลอกมา
Posted in:jordandiamond5.wordpress 

Written by: jordandiamond5.wordpress
แปลสรุปความโดย นายอานนท์ ทองรอด
รหัสนักศึกษา 5211302434 กลุ่มเรียน 102



Contact E-mail :  arnontongrod@gmail.com
Publish Blog :http://arnon-arti3319.blogspot.com/



ส่วนของการเรียบเรียงเนื้อหาใหม่
สำหรับเทคโนโลยีที่ช่วยในการสร้าง ภาพยนต์หรือการตูนย์ในรูปแบบ 3D นั้น
มีชื่อว่า Motion Capture หรือเรียกสั้นๆว่า Mo Cap เจ้าอุปกรณ์ที่ว่านี้เป็น
อุปกรณ์ที่ช่วยในการจับการเคลื่อนไหว ของนักแสดง และเจ้าอุปกรณ์ Mo Cap
นี้ยังใช้กันอย่างแพร่หลายในหลากหลายวงการ เช่น วงการแพทย์ วงการทหาร
วงการกีฬา และวงการบรรเทิง ในวงการทหารนั้นเจ้าอุปกรณ์ชนิดนี้ ในการจับและ
ติดตามความเคือนไหวของทหารและวงการแพทย์ใช้ Mo Cap โดยที่ศัลยแพทย์
จะนำหลอดไฟ LED ติดตรงซี่โครงของผู้ป่วยเพื่อตรวจระบบการหายใจ
ของผู้ป่วย และในวงการเกมส์นั้นใช้เจ้าMo Cap นี้ติดเขากับร่างกายของผู้เล่น
เกมก๊อล์ฟ ตัวจับความเคลื่อนไหวนี้จะประมวลผลและส่งภาพขึ้นหน้าจอ
เสมือนว่าผู้เล่นเกมส์กีอล์ฟอยู่นั้นเล่นอยู่จริงๆส่วนในการใช้เจ้าอุปกรณ์Motion
-Captureในวงการบรรเทิงนั้นใช้ในการผลิตภาพยนต์ Animation โดยเจ้าอุปกรณ์
MotionCaptureนี้จะมีอุปกรณ์เป็นฝาครอบกระดหลกศรีษระสำหรับนักแสดง
และมีกล้องขนาดเล็กติดอยู่ที่หมวกเพื่อจับภาพความเคลื่อนไหวใบหน้าของนักแสดง
และนักแสดงจะสวมชุดเพื่อจะจับความเคลื่อนไหวของรางกายของนักแสดงข้อมูล
เหล่านี้จะถูกสงและประมวลผลในคอมพิวเตอร์และจัดทำเป็นภาพยนต์การตูนย์ต่อไป

บทความด้านล่างจาก
http://www.wara.com/modules.php?name=News&file=article&sid=304

MotionCaptureหรือเรียกสั้นๆว่าMocap เป็นเทคโนโลยีทีใช้ในการตรวจจับ
การเคลื่อนไหว ถูกนำมาใช้ในการสร้างภาพยนตร์หรือการ์ตูนสามมิติ หรือเกมสามมิติ โดยใช้ตัวเซ็นเซอร์ติดตามร่างกายของนักแสดง เพื่ออ่านและแปรค่าความเคลื่อนไหว
เข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำให้ตัวละครสามมิติที่สร้างขึ้นสามารถแสดงท่าทางได้อย่าง
นุ่มเนียนสมจริงและมีความหลากหลายของอิริยาบถทั้งร่างกายและใบหน้า เรียกได้ว่าเจ้าเครื่องMocap นี้ช่วยเติมเต็มจินตนาการของผู้สร้าง
งานสามมิติหรือแอนิเมชั่นต่างๆ อย่างหนังฮอลลีวู้ดหลายต่อหลายเรื่องที่ทำให้พวกเรา
ทึ่งในความสมจริงของตัวละครแอนิเมชั่นกันมาแล้ว เช่น
 The Lord of the Rings, King Kong,FinalFantasy,I-Robot
เป็นต้นองค์ประกอบในการสร้างงานแอนิเมชั่นโดยใช้
เทคนิคMotioncaptureจะมีกล้องถ่ายการเคลื่อนไหว และนักแสดงซึ่งใส่ชุดแนบเนื้อ
สีเดียวกับบลูสกรีนหรือสีดำติดretro-reflective-markerหรือเซ็นเซอร์ ติดไว้ตามตำแหน่งต่างๆโดยเน้นไว้ในจุดที่ต้องการจับการเคลื่อนไหว กล้องพิเศษพวกนี้ต้องใช้หลายๆตัว เพื่อจะได้เก็บภาพได้สมบูรณ์และได้ภาพ
ในพื้นที่สามมิติจริงๆ เจ้า marker นี่เราจะเห็นเป็นลูกกลมๆ สีขาว คล้ายๆ ลูกปิงปอง กล้องจะทำหน้าที่ยิงไปที่จุดเซ็นเซอร์หรือมาร์คเกอร์สีแดง ที่ติดอยู่ที่นักแสดง
เป็นจังหวะๆซึ่งกล้องจะมองไม่เห็นนักแสดงจะเห็นเพียงจุดสีขาวนั้น แล้วก็จับภาพสะท้อนที่ได้จาก marker ไว้ ข้อมูลจากกล้องก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะไป match กับ skeleton ที่เป็นเหมือนโครงกระดูกของตัวละคร CG อีกที แล้วเราก็จะได้การเคลื่อนไหวที่เหมือนมนุษย์เป๊ะๆ ของพวกเค้า
นับได้ว่า บุคคลในแวดวงแอนิชั่น ได้มีการนำเทคโนโลยีนี้มาใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในของกลุ่มของผู้สร้างหนังและนักออกแบบเกมส์ ถ้าจะให้ยกตัวอย่างหนังดังจากฮอลลีวู้ด ที่ใช้กระบวนการของMotion-Capture เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการสร้างแล้วละก็ ต้องขอกล่าวถึง Gollum จาก the Lord of the Rings ทั้ง 3 ภาค และก็ James Cameron ใน AVATA ทั้งสองตัวอย่างนี้ สามารถยืนยันประสิทธิภาพการทำงาน ของไอเจ้า Motion Capture ได้เป็นอย่างดี หนังดังทั้งสองเรื่องนี้ สามารถถ่ายทอดกระบวนการทำงานของ Motion Capture
ได้กระจ่างและชัดเจนมากขึ้นซึ่งการทำงานของเทคโนโลยีนี้ เปิดโอกาสให้ตัว
นักแสดงได้ใช้ความสามารถทางการแสดงของตนเอง และสามารถสื่อความรู้สึกออกมาได้อย่างสมบูรณ์แบบมากขึ้นซึ่งจะต่างจาก การทำหนังการ์ตูนแอนิเมชั่นทั่วไปซึ่งตัวละครจะไม่มีโอกาสได้แสดงอารมณ์ และความรู้สึกของตนเองออกมาทางสีหน้า และแววตาได้เลย
และเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา บริษัทออกแบบเกมส์ เฟรนไชน์ต่างๆ อาธิเช่น Halo, Game of War, Killzone, และ L.A. Noire ก็ได้เริ่มมีการนำเอา เจ้า Motion Capture เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้าง คาเรคเตอร์ของตัวละครในเกมส์แล้วด้วย…





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...